บรรจุ / เริ่มงาน เมื่อ | ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖ |
---|---|
สังกัด | วิทยาลัยสงฆ์มหาสารคาม |
ส่วนงาน | สำนักงานวิชาการ |
กลุ่มงาน | สาขาวิชาพระพุทธศาสนา |
ตำแหน่งทางวิชาการ | อาจารย์ |
ตำแหน่งทางคณะสงฆ์ | รองเจ้าคณะตำบลเขวา เขต ๒ /เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรีเชียงเหียน |
วันเกิด | ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๗ |
สถานที่เกิด | บ้านเลขที่ ๑๕ หมู่ที่ ๓ บ้านเชียงเหียน ตำบลเขวา อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม |
ที่อยู่ปัจจุบัน | บ้านเลขที่ ๑๗๙ หมู่ที่ ๓ วัดโพธิ์ศรีเชียงเหียน บ้านเชียงเหียน ตำบลเขวา อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ๔๔๐๐๐ |
สถานที่ทำงาน/การติดต่อ | วิทยาลัยสงฆ์มหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โทร: ๐๘๖-๒๓๖๑๗๖๖ |
การศึกษา | : พ.ศ. ๒๕๓๐ สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จากโรงเรียนบ้านหันเชียงเหียน ตำบลเขวา อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม : พ.ศ. ๒๕๔๖ สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จากศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม : พ.ศ. ๒๕๔๖ สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก สำนักศาสนศึกษาวัดโพธิ์ศรีเชียงเหียน ตำบลเขวา อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม : พ.ศ. ๒๕๕๔ สำเร็จการศึกษาปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ. (พระพุทธศาสนา)) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : พ.ศ. ๒๕๕๖ สำเร็จการศึกษาปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม. (พระพุทธศาสนา)) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : พ.ศ. ๒๕๖๔ สำเร็จการศึกษาปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
งานคณะสงฆ์ | งานการปกครอง ๑.) พ.ศ.๒๕๔๙ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดวัดโพธิ์ศรีเชียงเหียน ตำบลเขวา อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ๒.) พ.ศ.๒๕๕๕ ได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะตำบลเขวา เขต ๒ อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม งานการศึกษา ๑.) พ.ศ.๒๕๔๗ เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม สำนักศาสนศึกษา วัดราษฎร์ประดิษฐ์ ตำบลเขวา อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ๒.) พ.ศ.๒๕๔๙ เป็นเจ้าสำนักศาสนศึกษาวัดโพธิ์ศรีเชียงเหียน ตำบลเขวา อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ๓.) พ.ศ.๒๕๕๓ - ปัจจุบัน เป็นกรรมการและเลขานุการดำเนินการสอบธรรมสนามหลวง ธรรมศึกษา สนามสอบโรงเรียนผดุงนารี ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ๔.) พ.ศ.๒๕๕๖ - ปัจจุบัน เป็นกรรมการดำเนินการสอบธรรมสนามหลวง นักธรรมชั้นตรี สนามสอบวัดอภิสิทธิ์ ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ๕.) พ.ศ.๒๕๕๖ - ปัจจุบัน เป็นกรรมการดำเนินการสอบธรรมสนามหลวง นักธรรมชั้นโท- เอก สนามสอบวัดมหาชัย ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ๖.) พ.ศ.๒๕๕๕ - ปัจจุบัน เป็นกรรมการดำเนินการสอบบาลีสนามหลวง สนามสอบวัดมหาชัย ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม |
ประวัติการทำงาน | พ.ศ. ๒๕๕๖-ปัจจุบัน เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หน่วยวิทยบริการวิทยาเขตขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม (ปัจจุบันเป็น วิทยาลัยสงฆ์มหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) |
งานวิจัย | ๑) พระครูโพธิธรรมานุศาสก์.(๒๕๖๑) “การปรับใช้หลักสติปัฏฐาน ๔ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในอำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม” ได้รับทุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ผู้วิจัยร่วม) ๒) พระครูโพธิธรรมานุศาสก์.(๒๕๖๑) “ศึกษากระบวนการเสริมสร้างสุขภาพของชุมชนโดยใช้สมุนไพรในจังหวัดมหาสารคาม” ได้รับทุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ผู้วิจัยร่วม) ๓) พระครูโพธิธรรมานุศาสก์. (๒๕๖๔). “แนวทางการส่งเสริมสุขภาวะเชิงพุทธในสถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิด ๑๙ ของพระสงฆ์อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม” ได้รับทุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(ผู้วิจัยร่วม) |
บทความวิจัย/ทางวิชาการ | ๑) บทความวิจัยเรื่อง “การปรับใช้หลักสติปัฏฐาน ๔ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม. อันไม่พึงประสงค์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในอำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๐ (ตุลาคม ๒๕๖๓) ๒) บทความวิชาการเรื่อง “พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาความยากจน” โดยพระครูโพธิธรรมานุศาสก์ บทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “พุทธบูรณาการกับการวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมให้ยั่งยืน” มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น วันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๙ ๓) บทความวิชาการเรื่อง “หลักธรรมทางพระพุทธศาสนากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ยั่งยืน” โดยพระครูโพธิธรรมานุศาสก์บทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๒ “การจัดการวัฒนธรรมเชิงพระพุทธศาสนาอย่างยั่งยืน” มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๐ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ ISSN ๒๔๐๘-๒๔๕๗ ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๐) : หน้า ๔๒๖-๔๓๑. ๔) บทความวิชาการเรื่อง “การเสริมสร้างจริยธรรมในการทำงาน” โดย ดร.ศิลป์ ชื่นนิรันดร์/พระครูโพธิธรรมานุศาสก์ บทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑ “พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” วิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ISBN ๙๗๘-๑๖๑-๓๐๐-๕๕๔-๐ ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒) : หน้า ๑๗๐. ๕) บทความวิชาการเรื่อง “การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมในการพัฒนาองค์กร” โดยพระครูโพธิธรรมานุศาสก์ ตีพิมพ์บทความในการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๒ “นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อความยั่งยืน” วันที่ ๑๕-๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ๖) พระครูโพธิธรรมานุศาสก์ ได้นำเสนอผลงานวิจัย ภาคโปสเตอร์ เรื่อง “การใช้หลักไตรสิกขาแก้ปัญหาสังคมของนักเรียนโรงเรียนแกดำวิทยาคาร จังหวัดมหาสารคาม” ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี ๒๕๖๒ “ท้องถิ่นก้าวไกลด้วยวิจัยและนวัตกรรม” วันที่ ๑๒ -๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๗) พระครูโพธิธรรมานุศาสก์. แนวทางการส่งเสริมสุขภาวะเชิงพุทธในสถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิด ๑๙ ของพระสงฆ์อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๓. ภายใต้หัวข้อ “สังคมใหม่ในโลกหลัง COVID-19” ณ วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. |
ตำราวิชาการ | พระวิมาน คมฺภีรปญฺโญ, ดร. ,พระครูโพธิธรรมานุศาสก์, ดร.และพระครูพิศาลโพธิธรรม. (๒๕๖๕). หลักการ : แนวคิดสุขภาวะเชิงพุทธและการพัฒนาแนวทางส่งเสริมสุขภาวะพระสงฆ์. ขอนแก่น: หจก.ขอนแก่นการพิมพ์. |
เอกสารประกอบการสอน | |
งานที่ปรึกษาวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา | |
รางวัล/การได้รับเชิดชูเกียรติ / การศึกษาดูงาน | |
สมณศักดิ์ | พ.ศ.๒๕๕๖ ได้รับพระราชทานแต่งตั้งสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นโท (จร.ชท.) ในราชทินนามที่ “พระครูโพธิธรรมานุศาสก์” |